71 - 120 of 2391 Articles
กสอ. เผยนโยบายเร่งด่วนปี 2564 SMEs Disruption มุ่งส่งเสริมความเข้มแข็งอุตสาหกรรมไทย ผ่านปัจจัย 3 ด้าน ได้แก่ ทักษะเร่งด่วน เครื่องมือเร่งด่วน และ อุตสาหกรรมเร่งด่วน
เดือนพฤศจิกายน 2563 มีมูลค่าส่งออก 68,529.59 ลบ. เพิ่มขึ้น 6.30% จากช่วงเดียวกันปีก่อน
รถยนต์ในประเทศมียอดขายในเดือน พ.ย.63 รวมจำนวน 79,177 คัน เพิ่มขึ้น 2.7% จากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว โดยยอดขายรถกระบะตัวเลขเพิ่มขึ้น 3 เดือนต่อเนื่อง
ในเดือนพฤศจิกายน 2563 มีการผลิตรถยนต์เกิน 1.7 แสนคัน เพิ่มขึ้นในรอบ 19 เดือน จากสงครามการค้าเมื่อปีก่อนและการระบาดของโควิด โดยเพิ่มขึ้นทั้งส่งออกและยอดขายในประเทศ
เผยรายงาน 10 อันดับประเทศน่าลงทุนในสายตาญี่ปุ่นจากผู้ตอบแบบสอบถาม 1,529 บริษัท ซึ่งมีธุรกิจในอุตสาหกรรมการผลิต 67.6% ที่ร่วมตอบแบบสอบถาม
กรมเจรจาฯ แนะผู้ประกอบการเร่งศึกษาอัตราภาษีศุลกากรประเทศสมาชิก RCEP สร้างความได้เปรียบให้สินค้าไทย ก่อนความตกลงมีผลบังคับใช้
ไทย-อินเดีย ฟื้นการประชุมคณะกรรมการร่วมทางการค้า ครั้งแรกในรอบ 17 ปี หวังลดอุปสรรคทางการค้า โดยไทยขอให้อินเดียพิจารณาเรื่องข้อจำกัดนำเข้าสินค้าไทยหลายรายการ
กนอ.ออกมาตรการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบโควิด -19 เพิ่มเติม รอบ 3 ขยายเวลายกเว้นค่าบริการอนุญาตการประกอบกิจการต่ออีก 6 เดือน!
Japan Forming Machinery Association เผยยอดสั่งซื้อเครื่องขึ้นรูปโลหะ (Metal Forming Machine) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2020 ปิดที่ 191 ล้านเหรียญ ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 21
ม.หอการค้าไทย เผยดัชนี TCC Confidence Index เพิ่มขึ้น 6 เดือนติดต่อกัน ผลจากมาตรการคนละครึ่ง และ GDP Q3 ที่ปรับตัวดีขึ้น
ผลสำรวจบริษัทญี่ปุ่นขนาดกลางและขนาดเล็ก ชู “เวียดนาม” น่าลงทุนอันดับหนึ่ง ต่อเนื่อง 7 ปีซ้อน ด้วยตลาดมีศักยภาพในการเติบโตสูง ค่าแรงต่ำ มีความมั่นคงทางการเมือง
ภาพรวมอุตฯ พลาสติกใน Q3 ดัชนีผลผลิตและดัชนีการส่งสินค้าหดตัว แต่ปริมาณการส่งออกขยายตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันปีก่อน สาเหตุจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศคู่ค่าหลัก
หากทำ FTA ไทย-อียู ประโยชน์ คือ GDP ไทยขยายตัวระยะยาว มูลค่าการค้าจะเพิ่มขึ้น ลดต้นทุนการผลิตของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง แต่มีผลกระทบต่อยารักษาโรคและเมล็ดพันธุ์พืช
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลเยอรมันไตรมาสที่ 3 ปี 2020 ลดลง 29% จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว โดยมียอดสั่งซื้อในประเทศลดลง 26% และจากต่างประเทศลดลง 30%
สศอ. เผยตัวเลขภาพรวมอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนใน Q3 ยังคงอยู่ในภาวะหดตัว คาด Q4 จะมีการผลิต 450,000 คัน โดยส่วนใหญ่เป็นการผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศ
การผลิตรถยนต์ในไตรมาสที่ 3 ปี 2563 ปริมาณการผลิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากตลาดในประเทศและส่งออกชะลอตัวจากผลกระทบโควิด-19
คาดการณ์ อุตสาหกรรมไฟฟ้าไตรมาสที่ 4 ดัชนีผลผลิตและมูลค่าการส่งออกจะปรับตัวเป็นบวกได้ที่ 6.4% และ 3.0% ตามลำดับ ผลจากปริมาณคำสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้นจากทั้งในและต่างประเทศ
กกร. ปรับประมาณการ GDP ดีขึ้น แม้ภาวะเศรษฐกิจไตรมาสที่ 4 แผ่วลงเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ผลกระทบจากโควิดที่กลับมาระบาดหนักในหลายประเทศ
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.07 แสนล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 7.8% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 19.0% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุล 9.9 พันล้านเหรียญ
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาส 3 ดัชนี MPI หดตัว 8.3% โดยปัจจัยสำคัญมาจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว รวมถึงผลกระทบจากโควิด-19