
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME 2566 เดือน พ.ค. ชะลอตัว ผปก.กังวลต้นทุนเพิ่มขึ้น
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนพฤษภาคม 2566 ชะลอตัวลง อยู่ที่ระดับ 53.0 เหตุผู้ประกอบการมีความกังวลต้นทุนสูงขึ้น โดยเฉพาะค่าไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนพฤษภาคม 2566 ชะลอตัวลง อยู่ที่ระดับ 53.0 เหตุผู้ประกอบการมีความกังวลต้นทุนสูงขึ้น โดยเฉพาะค่าไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง
สสว. เผยผลสำรวจความต้องการมาตรการส่งเสริม SME จากว่าที่รัฐบาล พบผู้ประกอบการต้องการความช่วยเหลือด้านต้นทุนและค่าใช้จ่ายเป็นอันดับแรก
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนมีนาคม 2566 ปรับเพิ่มขึ้น อยู่ที่ระดับ 54.9 ภาคการผลิตเพิ่มสูงสุด รองลงมา ได้แก่ภาคการบริการ และภาคธุรกิจการเกษตร
สถาบันยานยนต์ ร่วมกับ สสว. เปิดให้บริการผ่านระบบ BDS หนุนค่าใช้จ่ายพัฒนาธุรกิจในสัดส่วน 50-80% ผู้ประกอบการ SME สามารถใช้บริการ อาทิ บริการศูนย์ทดสอบยางล้อ ยานยนต์ แบตเตอรี่ EV เป็นต้น
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ปรับเพิ่มขึ้น อยู่ที่ระดับ 54.4 จากภาคการบริการ โดยเฉพาะธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนมกราคม 2566 ปรับลดลง อยู่ที่ระดับ 53.9 เหตุกำลังซื้อชะลอตัวลงในช่วงปลายเดือน หลังจากพุ่งสูงขึ้นในช่วงเทศกาล
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนธันวาคม 2565 เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเดือนที่ 5 อยู่ที่ระดับ 55.7 ปัจจัยบวกจากเศรษฐกิจในประเทศขยายตัว โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนพฤศจิกายน 2565 เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเดือนที่ 4 อยู่ที่ระดับ 53.8 โดยเพิ่มขึ้นทั้งค่าดัชนีปัจจุบันและคาดการณ์ 3 เดือน
สสว. คาดการณ์ GDP SME ปี'66 จะขยายตัวราว 4.1% - 5.8% ขณะที่ 9 เดือนแรกของปี'65 GDP มีมูลค่ารวม 4.54 ล้านล้านบาท ขยายตัว 5.1% จากช่วงเดียวกันปีก่อน
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนตุลาคม 2565 เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเดือนที่ 3 อยู่ที่ระดับ 53.1 ปัจจัยบวกจากการท่องเที่ยวและแนวโน้มที่ดีขึ้นของต้นทุน แต่มีสัญญาณแผ่วของกำลังซื้อ
สสว. เดินหน้าจัดทำแผนปฏิบัติการส่งเสริม SME ปี 2567 โดยมุ่งเน้นสร้างการเติบโตครอบคลุมเอสเอ็มอีทุกกลุ่ม และมุ่งเป้าในกลุ่มที่มีศักยภาพ
สภาอุตฯ ชวนผู้ส่งออกไทย รับส่วนลด 50-80% ในการออกใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าออนไลน์ e-C/O ผ่านโครงการ BDS (SME ปัง ตังได้คืน) ของ สสว.
สสว. ขยายระยะเวลาโครงการ BDS “SME ปัง ตังได้คืน” วงเงินอุดหนุนงบสูงสุด 200,000 บาท ต่อราย พร้อมจัดกิจกรรมสัญจร เปิดโอกาสเข้าถึงโครงการมากขึ้น
SME D Bank ผนึก สสว. จัดงาน “Thai SME GP@Bangkok” ดันเอสเอ็มอีคว้าโอกาสเป็น “คู่ค้าภาครัฐ” พร้อมเข้าถึง “เงินทุน” ยื่นกู้ได้ทันที สูงสุด 50 ล้านบาท
สสว. เร่งยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการ MSME ผ่านระบบผู้ให้บริการทางธุรกิจ BDS “SME ปัง! ตังได้คืน” ปีงบประมาณ 2565
สสว. พัฒนาระบบ SME ACCESS ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อเอสเอ็มอี เน้นปรับการให้บริการ MSME ในด้านต่าง ๆ สู่รูปแบบ e-Service เตรียมความพร้อมการดำเนินธุรกิจในอนาคต
คว้าโอกาสพัฒนาธุรกิจภายใต้ “โครงการส่งเสริมผู้ประกอบการผ่านระบบ BDS” ด้วยโปรแกรมอบรมและปรึกษาแนะนำจากสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ พร้อมรับทุนอุดหนุนค่าใช้จ่ายจาก สสว. สูงสุดถึง 80%
สถาบันไฟฟ้าฯ ร่วมกับ สสว. เปิดให้บริการผ่านระบบ BDS หนุนค่าใช้จ่ายพัฒนาธุรกิจในสัดส่วน 50-80% โดยผู้ประกอบการ SME สามารถใช้บริการ อาทิ ตรวจประเมินความพร้อม ทดสอบผลิตภัณฑ์
TGI ชวน SME เข้าร่วมโครงการ BDS รับเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายพัฒนาธุรกิจ 50 - 80% ขึ้นทะเบียนได้แล้ว ตั้งแต่วันนี้ - 30 กันยายน 2565
สสว. เร่งมาตรการช่วยเอสเอ็มอีปี 2565 เตรียมความพร้อมรับภาวะเปิดประเทศ อัดงบ 400 ล้าน ช่วยเงินอุดหนุน SME ไทยพัฒนาธุรกิจ 50 – 80% สูงสุดรายละ 200,000 บาท