แนวโน้มอุตสาหกรรมรายสาขาที่สำคัญ ไตรมาส 2/2567
(สศอ.) เผย แนวโน้มอุตสาหกรรมรายสาขาที่สำคัญ ไตรมาสที่ 1/2567 โดยคาดการณ์หลายอุตสาหกรรมอยู่ในแนวโน้มหดตัวและชะลอตัว
(สศอ.) เผย แนวโน้มอุตสาหกรรมรายสาขาที่สำคัญ ไตรมาสที่ 1/2567 โดยคาดการณ์หลายอุตสาหกรรมอยู่ในแนวโน้มหดตัวและชะลอตัว
สถานการณ์การค้าต่างประเทศของไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2567 มีมูลค่าทั้งสิ้น 146,465.74 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นมูลค่าการส่งออก 70,995.29 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 0.24 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน (YOY)
ภาพรวมเศรษฐกิจโลกในไตรมาสไตรมาสที่ 1 ปี 2567 ขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากไตรมาสก่อน ตามการฟื้นตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศหลักอย่างสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป จากการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ
ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมไทย ประจำเดือนสิงหาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 87.7 ปรับตัวลดลง จาก 89.3 ในเดือนกรกฎาคม 2567 โดยมีปัจจัยด้านลบจากอุปสงค์ในประเทศชะลอตัวลง โดยเฉพาะสินค้าคงทนประ…
อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาสแรกของปี 2567 การผลิตและส่งสินค้าขยายตัว โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ประจำโต๊ะอาหาร ครัว และห้องน้ำ เช่นเดียวกันการส่งออกที่ขยายตัวตามความต้องการของตลาดคู่ค้า…
BYD ตอบสนองนโยบายรัฐบาลที่กำลังแก้ปัญหาเศรษฐกิจชะลอตัว จ้างพนักงานเพิ่มขึ้น 5.8% จากปลายเดือนสิงหาคม มาอยู่ที่มากกว่า 900,000 คน กลายเป็นบริษัทที่มีพนักงานมากที่สุดในบรรดาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์จีน
ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทยไตรมาสที่ 1 ปี 2567 เมื่อพิจารณาจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) มีค่าอยู่ที่ 100.93 ลดลงร้อยละ 3.58 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เป็นการปรับตัวลดลงเป็นไตรมาสที่ 6 ติดต่อกัน
สถานการณ์การผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในในไตรมาสที่ 1 ปี 2567 ปรับตัวลดลงร้อยละ 17.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น และสถานการณ์ความไม่แน่นอนขอ…
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนกรกฎาคม 2567 มีมูลค่า 25,720.6 ล้านเหรียญสหรัฐ (938,285 ล้านบาท) ขยายตัวร้อยละ 15.2 นับเป็นอัตราการเติบโตสูงสุดในรอบ 28 เดือน นับตั้งแต่เดือนมีนาคม 2565
กกร. คาดการณ์ GDP ปี 2567 ณ เดือนกันยายน เติบโตอยู่ที่ 2.2 - 2.7% แต่การเติบโตดังกล่าวยังกระจุกตัวอยู่เฉพาะกลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ได้เป็นการเติบโตในวงกว้าง
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนกรกฎาคม2567 อยู่ที่ระดับ 49.9 ลดลงจากระดับ 52.0 ของเดือนก่อนหน้า ซึ่งปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3
ในเดือนกรกฎาคม 2567 ไทยผลิตรถจักรยานยนต์ได้ทั้งสิ้น 179,176 คัน ลดลง 8.01% จากปีที่แล้ว ขณะที่ยอดขายรถจักรยานยนต์มีจำนวนทั้งสิ้น 141,557 คัน ลดลง 5.97% จากเดือนมิถุนายน 2567 และลดลง 6.12% จากปีที่แล้ว
ยอดผลิตรถยนต์ไทยเดือนกรกฎาคม 2567 มีทั้งสิ้น 124,829 คัน ลดลง 16.62% จากเดือนกรกฎาคม 2566 มีปัจจัยจากผลิตขายในประเทศลดลง 40.85% ตามยอดขายรถยนต์ในประเทศที่ลดลง
ยอดขายรถยนต์ภายในประเทศของเดือนกรกฎาคม 2567 มีจำนวนทั้งสิ้น 46,394 คัน ลดลง 2.66% จากเดือนมิถุนายน 2567 และลดลง 20.58% จากเดือนเดียวกันในปีที่แล้ว
หอการค้าเผย สถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศในในปัจจุบันกำลังเผชิญกับความท้าทายและป้ญหาหลากหลายมิติ หอการค้าฯ ได้รับระดมความเห็นจากเครือข่ายเอกชนทั่วประเทศโดยมี 3 เรื่องเร่งด่วนที่ภาคเอก…
ส.อ.ท. พร้อมคณะผู้บริหาร ส.อ.ท. เข้าพบนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและคณะ เพื่อนำเสนอแนวทางกระตุ้นเศรษฐกิจยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตไทย และขับเคลื่อนนโยบายร่วมกัน
กระทรวงอุตสาหกรรม ได้กำหนดนโยบายในการส่งเสริมและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทย ให้สอดรับกับความมุ่งมั่นของรัฐบาลที่จะใช้การพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นพลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมไทย ประจำเดือนกรกฎาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 89.3 ปรับตัวเพิ่มขึ้น จาก 87.2 ในเดือนมิถุนายน 2567 โดยปรับตัวเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 4 เดือน ตามการเพิ่มขึ้นของ…
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนมิถุนายน 2567 มีมูลค่า 24,796.6 ล้านเหรียญสหรัฐ (892,766 ล้านบาท) หดตัวร้อยละ 0.3 กลับมาหดตัวเล็กน้อยสาเหตุหลักจากสินค้าผลไม้เข้าสู่ช่วงท้ายของฤดูกาล จึงมีผลผลิตออกสู่ตลาดลดลง
ดีพร้อม ผนึกกำลัง ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ติดปีกอุตสาหกรรมอนาคต ด้วยเศรษฐกิจอวกาศ ผ่านเครือข่ายความร่วมมือ (DIPROM CONNECTION) ด้วยการเพิ่มโอกาสให้กับภาคอุตสาหกรรม เข้า…
กกร. คาดการณ์ GDP ปี 2567 ณ เดือนสิงหาคม เติบโตอยู่ที่ 2.2 - 2.7% โดยการส่งออกปรับกรอบการเติบโตเป็น 0.8 - 1.5% จากเดิม 0.5 - 1.5%
ส.อ.ท. เผยผลการสำรวจ FTI CEO Poll เดือนกรกฎาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “ทิศทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมไทยครึ่งปีหลัง” โดยสำรวจความเห็นของผู้บริหาร ส.อ.ท. จำนวน 143 ท่าน ครอบคลุม 46 กลุ่มอุต…
ไทยผลิตรถจักรยานยนต์ในเดือนมิถุนายน 2567 รวม 183,528 คัน ลดลง 25.78% จากเดือนมิถุนายน 2566 แบ่งเป็น CBU 156,598 คัน ลดลง 24.41% และ CKD: 26,930 คัน ลดลง 32.84%
ยอดผลิตรถยนต์ไทยเดือนมิถุนายน 2567 มีทั้งสิ้น 116,289 คัน ลดลง 20.11% จากปีก่อน และลดลง 7.82% จากเดือนพฤษภาคม ปัจจัยหลักมาจากการผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศที่ลดลงมากถึง 43.08%
ยอดขายรถยนต์มิถุนายน 2567 มีจำนวนทั้งสิ้น 47,662 คัน เพิ่มขึ้น 4.43% จากพฤษภาคม แต่ลดลงจากปีที่แล้ว 26.04% เหตุยอดขายรถกระบะลดลง 36.44% และรถ PPV ลดลง 49.98%
ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมไทย ประจำเดือนมิถุนายน 2567 อยู่ที่ระดับ 87.2 ปรับตัวลดลงจาก 88.5 ในเดือนพฤษภาคม 2567 เศรษฐกิจฟื้นตัวช้า ดึงดัชนีหดตัวต่อเนื่องเดือนที่ 3 แนะรัฐส่งเสริมให้ใช้สินค้าผลิตในไทย
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2567 ประจำเดือนมิถุนายน อยู่ที่ระดับ 113.6 สูงขึ้น 4.7%
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนเมษายน 2567 อยู่ที่ระดับ 54.1 ปรับเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 53.0 จากอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นช่วงมหาสงกรานต์ที่มีการจัดอีเว้นท์โดยภาครัฐและภาคเอกชน
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนพฤษภาคม 2567 มีมูลค่า 26,219.5 ล้านเหรียญสหรัฐ (960,220 ล้านบาท) ขยายตัวร้อยละ 7.2 หากหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และยุทธปัจจัย ขยายตัวร้อยละ 6.5
กกร. คาดการณ์ GDP ปี 2567 ณ เดือนกรกฎาคม เติบโตอยู่ที่ 2.2 - 2.7% โดยการส่งออกปรับกรอบการเติบโตเป็น 0.8 - 1.5% จากเดิม 0.5 - 1.5%
ไทยผลิตรถจักรยานยนต์ในเดือนพฤษภาคม 2567 รวม 191,970 คัน ลดลง 12.30% จากเดือนพฤษภาคม 2566 แบ่งเป็น CBU 168,190 คัน ลดลง 15.62% และ CKD: 23,780 คัน เพิ่มขึ้น 21.51%
ยอดผลิตรถยนต์ไทยเดือนพฤษภาคม 2567 อยู่ที่ 126,161 คัน ลดลง 16.19% จากปีก่อน สาเหตุหลักมาจากยอดขายในประเทศที่ลดลง เศรษฐกิจที่เติบโตช้า และการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าที่ยังไม่พร้อมเต็มที่ แม้…
ยอดขายรถยนต์พฤษภาคม 2567 มีจำนวนทั้งสิ้น 49,871 คัน เพิ่ม 6.7% จากเมษายน 2567 แตดิ่ง 23% จากพฤษภาคม 2566 ปัจจัยหลักจากเศรษฐกิจชะลอ
ส.อ.ท. เผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือนพฤษภาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 88.5 ปรับตัวลดลงจาก 90.3 ในเดือนเมษายน 2567 ทั้งนี้ความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมที่ปรับตัวลดลงเป็นผลมา…
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2567 ประจำเดือนพฤษภาคม อยู่ที่ระดับ 113.6 สูงขึ้น 3.9%
กกร. คาดการณ์ GDP ปี 2567 เหลือ 2.2-2.7% จากเดิมที่คาดไว้ 2.8-3.3% และการส่งออกลงเหลือ 0.5-1.5% จากเดิมที่คาดไว้ 2.0-3.0% การค้าโลกและปริมาณการส่งออกชะลอตัวชัดขึ้น
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 53.0 ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 จากภาวะเศรษฐกิจและกำลังซื้อที่ชะลอตัวลง
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนเมษายน 2567 มีมูลค่า 23,278.6 ล้านเหรียญสหรัฐ (834,018 ล้านบาท) ขยายตัวร้อยละ 6.8 หากหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และยุทธปัจจัย ขยายตัวร้อยละ 11.4
ในเดือนเมษายน 2567 ไทยผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้น 161,912 คัน ลดลง 4.36% จากเดือนเมษายน 2566 แยกเป็นรถจักรยานยนต์สำเร็จรูป (CBU) 136,387 คัน และชิ้นส่วนประกอบรถจักรยานยนต์ (CKD) 25,525 คัน
ในเดือเมษายน 2567 ไทยมีการผลิตรถยนต์รวมทั้งสิ้น 104,667 คัน ลดลง 11.02% จากการผลิตรถยนต์นั่งและรถกระบะเพื่อขายในประเทศที่ลดลง 5.03% และ 45.94% ตามลำดับสอดคล้องกับยอดขายที่ลดลง
ในเดือนเมษายน 2567 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 46,738 คัน ลดลง 16.69% จากเดือนก่อนหน้า และลดลง 21.49% จากเดือนเมษายน 2566
ส.อ.ท. เผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2567 อยู่ที่ระดับ 90.3 ปรับตัวลดลงจาก 92.4 ในเดือนมีนาคม 2567 ทั้งยอดขาย คำสั่งซื้อโดยรวม ปริมาณการผลิต ต้นทุนประกอบการและผลประกอบการ
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2567 ประจำเดือนเมษายน อยู่ที่ระดับ 113.8 เพิ่มขึ้น 3.4%
กกร. ปรับลดคาดการณ์ GDP ปี 2567 ลงเหลือ 2.2-2.7% จากเดิมที่คาดไว้ 2.8-3.3% และการส่งออกลงเหลือ 0.5-1.5% จากเดิมที่คาดไว้ 2.0-3.0% กังวลการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำทั่วประเทศ 400 บาท จะ…
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนมีนาคม 2567 มีมูลค่า 24,960.6 ล้านเหรียญสหรัฐ (892,290 ล้านบาท) หดตัวร้อยละ 10.9 ครั้งแรกในรอบ 8 เดือน แต่ยังรักษาระดับการส่งออกได้ใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี
ในเดือนมีนาคม 2567 ไทยผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้น 219,434 คัน ลดลง 4.05% จากเดือนเดียวกันปีก่อน แยกเป็นรถจักรยานยนต์สำเร็จรูป (CBU) 179,806 คัน และชิ้นส่วนประกอบรถจักรยานยนต์ (CKD) 39,628 คัน
ในเดือนมีนาคม 2567 ไทยมีการผลิตรถยนต์รวมทั้งสิ้น 138,331 คัน ลดลง 23.08% จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากการผลิตสำหรับจำหน่ายในประเทศที่ลดลงอย่างมากตามยอดขายจากการอนุมัติสินเชื่อขอ…
ในเดือนมีนาคม 2567 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 56,099 คัน เพิ่มขึ้น 6.16% จากการเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อของสถาบันการเงินและหนี้ครัวเรือนที่สูงมาก
รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศปี 2567 เป็น "ปีแรกของบริษัทขนาดกลาง" มุ่งเน้นสนับสนุนการลงทุนในประเทศและการควบรวมกิจการ M&A หวังเป็นกุญแจสำคัญฟื้นเศรษฐกิจประเทศ
ส.อ.ท. เผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 92.4 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 90.0 ในเดือนกุมภาพันธ์ คำสั่งซื้อโดยรวม ปริมาณการผลิต และผลประกอบการ ปรับตั…